ท้าวเวสสุวรรณ ๗ ปาง
ปาง ร่ายพระเวทย์
ปาง อุจฉาวสุ
( มั่งมีได้ดั่งใจ )ปาง ธเนศวร ครองทรัพย์
ปาง โองการท้าวกุเวร
( ยักษ์สั่งรวย )ปาง เจริญสุข
( ไวศรวัณ )ปาง เสด็จปราบ
( ยักษราช )ปาง เวสสุวัณ ฉาย รตนฆร
เทวะตาศิลปาคม แปลว่า ผลงานศิลปะมีองค์เทพยดาอันศักดิ์สิทธิ์ที่มีพลังทรงพลานุภาพด้วยเวทย์มนต์และพระคาถา ทั้ง อาคมวิทยามหาสรรพวิชา ทิพย์มนต์ อันมากด้วยพระพุทธคุณแห่งพระรัตนตรัย(ศิลปะที่ต้องด้วยมนต์และพระคาถา) จัดสรรค์ให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรม และ พุทธศาสนา ควรค่าแก่การครอบครองบูชามีใว้เป็น มรดกต่อวงศ์ตระกูล
“ เทวะตาศิลปาคม ชุดที่ ๑
ท้าวเวสสุวรรณ ทั้ง ๗ ปาง ”
ท้าวเวสสุวรรณ ปางที่ ๗
ปาง เวสสุวัณ ฉาย รตนฆร
ปางนี้ มี อานิสงส์ อานุภาพ เป็นปางที่องค์ท่านท้าว แผ่อำนาจ วาสนา ให้แผ่ซ่าน ไปทั่วสามแดนโลกธาตุ ด้วย เรือนแก้ว คือ รตนฆร คือ แสงพระบารมีแห่งพระพุทธเจ้า ทั้ง ๖ ประการ เรียกว่า ฉัพพรรณรังสี ฉัพพรรณรังสี เป็นเครื่องหมายของปัญญา และอำนาจรวมกัน ซ่านออกจากสิ่งใด หมายความว่า สิ่งนั้นเป็นสิ่งสูงสุดในทางปัญญา คือ ความประเสริฐ แด่ผู้ที่ครอบครองและกราบไหว้สักการะองค์ท่านท้าวปางนี้ แล
เวสสุวัณ ฉาย รตนฆร แปลว่า องค์ท้าวมหาราชเวสสุวัณ ทรงเปล่งพระรัศมีทั้ง ๖ ประการ เป็นดั่งเรือนแก้วปกคลุมพระวรกาย คือ แสงพระบารมีอันลึกล้ำแห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
“ซุ้มเรือนแก้ว”หรือ เรือนแก้ว มาจาก “รตนฆร”
รตน(ระ-ตะ-นะ) แปลว่า แก้ว
ฆร(คะ-ระ) แปลว่า เรือน รวมกันจึงแปลว่า เรือนแก้ว
ลักษณะองค์ท่าน ยืนเท้ากระบอง(มหากาล)
ทรงเรือนแก้ว คือมี พระรัศมี หรือ ประภามณฑล มาจากคำว่า รตนฆร แสงทั้ง ๖ ประการแห่งพระพุทธเจ้า เรียก ทรง ฉัพพรรณรังสี ๖ ประการ
ปางนี้ จึงเป็นปาง แห่งการรวบรวมพระบารมี องค์ท้าวเวสสุวรรณ เป็นการ เปล่ง ฉาย แสดง ถึง พระบารมี อันสูงที่สุด คือ บารมีแห่ง การบรรลุธรรม มีองค์ รตนฆร (เรือนแก้ว) ปกคลุมบารมี ให้องค์ท่านเป็นที่พึ่งที่อาศัยในบารมีทั้งทางโลกแลทางธรรม ไม่เหนือวิสัย องค์ท่านเลย
พระคาถาบูชา องค์ท้าวเวสสุวรรณ (ปาง เวสสุวัณ ฉาย รตนฆร )
นะโม ๓ จบ
เวสสุวัณโณ ฉายา ระตะนะฆะระ ปะ ภา โส
สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ อิติปิ โส ภะคะวา ยมมะราชาโน
ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
ด้วยความเคารพนอบน้อมแด่พระรัตนะตรัย ข้าพเจ้าขอสักการะจอมยักษราช ท้าวเวสสุวรรณโณ ขอความสว่างไสว แห่ง ระ ตะ นะ ฆะ ระ จง ส่องสว่างลงมาสู่ตัว ข้าพเจ้า ด้วยพระอภิธรรมทั้ง ๗ คัมภีร์ จง มาเป็น ด้วย พุท ธะ มะ อะ อุ นี้ เทอญ
ท้าวเวสสุวรรณ ปางที่ ๑
ปาง ร่ายพระเวทย์
องค์ท่าน องค์ยืน ยกกระบอง พนมกร กล่าวร่ายพระเวทย์ เป็น ปางที่ท้าวเวสสุวรรณ ท่านร่ายมนต์ อาฏานาฏิยปริตรเป็นมนต์คาถาอันศักดิ์สิทธิ์ ปางนี้ มีพลานุภาพในด้านเพื่อเพิ่มขวัญกำลังใจให้จิตยกให้สูง ขับไล่ภัยอันตรายสิ่งชั่วร้ายต่างๆ และอวยพรชัย
เป็นสิริมงคล จะได้รับการคุ้มครองจากภยันตรายทั้งปวง ทำให้มีแต่ความสุขความเจริญรุ่งเรือง…. ด้วย พระเวทย์แห่งจอมยักษ์ พระนามว่า เวสสุวัณ ได้ ประชุมพระเวทย์พร้อมเพียงด้วยท้าวมหาราชทั้ง ๔ เป็นมหาวิเศษยิ่งนัก
#ภานยักษ์ แปลว่า ยักษ์พูด (ภาน แปลว่า พูด ) บทสวดมนต์ ปางร่ายพระเวทย์(ร่ายมนต์) อาฏานาฏิยปริตร บทสวดมนต์ป้องกันภูติผีปีสาจ ยักษ์ วิญญาณร้าย คุณไสยต่างๆ และ สิ่งไม่ดี
นะโมฯ ๓ จบนะโม ตัสสะ สัตตะ อะระหังพุทโธ อาฏานาฏิยะ
ปะริตตัง มังรักขันตุ สัพพะทา
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ทั้ง ๗ พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง ขอ พระมนต์แห่งอาฏานาฏิยปริตร จงพิทักษ์รักษา ข้าพเจ้าด้วยเทอญ
ท้าวเวสสุวรรณ ปางที่ ๒
ปาง อุจฉาวสุ ( มั่งมีได้ดั่งใจ )
องค์อุจฉาวสุ (ท้าวเวสสุวรรณ อีกพระนาม ทรงยืน พระหัตถ์ซ้ายถือ กระบอง พระหัตถ์ขวาถือและชู โลหิตมณี (โลหิตมณี คือ มณีสีเลือด หรือ หัวใจแห่งมณีรัตนะ เป็นมณียอดของหัวใจ แห่งความมั่งมี เมื่อองค์ท้าวท่าน อุจฉาวสุ ท่านชูโลหิตมณี เปรียบดั่งเลือดที่คอย หล่อเลี้ยงหัวใจให้เกิดความผาสุข สมปรารถนาทุกประการ
ความเป็นมาแห่งพระนาม ปางนี้ อุจฉาวสุ เป็น พระนามหนึ่งขององค์ท้าวเวสสุวรรณ อานิสงส์แห่งการครอบครองและบูชาสักการะองค์ท่านปางนี้คือปาง อุจฉาวสุ จะบันดาลทรัพย์ ความมั่งคั่ง มั่งมี ได้ดั่งใจท่านปรารถนาเปรียบดั่ง ต้องมนต์มหาพรชัยมงคล แห่ง ท้าวเวสสุวรรณผู้เป็น อุจฉาวสุ
ปางนี้ ให้บูชา ร่ายพระคาถา ว่า
(นะโมฯ ๓ จบ)
โอม อุด ฉา วะ สุ มหา มณี เดโช นะโมพุทธายะ ปิยัง มะมา จิตติ จิตตัง มหา จิตติ
ทรัพย์ใดในโลกาแลเหนือโลกา อันมีค่าสูง จงมาเถิด มาสู่วาสนาสู่บารมีข้าพเจ้าบัดนี้ เทอญ
ท้าวเวสสุวรรณ ปางที่ ๓
ปาง ธเนศวร ครองทรัพย์
พระนามแห่งองค์ท้าวเวสสุวรรณ ถูกเรียกพระนามคือ ธเนศวร แปลว่า (เจ้าแห่งทรัพย์) ทรงนั่งประทับบน พญาปรุสาท นรสิงห์ เหนือบน ขุมทรัพย์ทั้ง ๔ ( นิธิกุมภี ) ขุมทรัพย์แห่งพระเจ้าจักรพรรดิ พระหัตถ์ขวาทรงถือกระบอง พระหัตถ์ซ้ายทรงถือครอง โลหิตมณี คือ มณีสีเลือด หรือ หัวใจแห่งมณีรัตนะ เป็นมณียอดของหัวใจ แห่งความมั่งมี เป็นการแสดงถึงการครอบครอง หัวใจแห่งทรัพย์ทั้งปวง
ขุมทรัพย์ทั้งสี่
ขุมทรัพย์ทั้ง ๔ หรือนิธิกุมภี คือขุมทอง ๔ ขุม ได้แก่ ขุมทองสังขนิธี ขุมทองเอลนิธี ขุมทองอุบลนิธี ขุมทองปุณฑริกนิธี
อานิสงส์ อนุภาพแห่ง ปางนี้ จักบันดาลให้ ทรัพย์สินทั้งหลาย ทั้งมั่งมีอยู่ ไม่มีวัน เหือดแห้ง ถดถอย สลายตัว เปรียบดั่งองค์ ธเนศวร เจ้าแห่งทรัพย์ ได้เป็นผู้เฝ้า รักษาทรัพย์ แห่งท่าน ไม่มีวันเสื่อมคลาย ครั้นมีแต่พอกพูนคูณทวี ด้วยท้าวองค์ธเนศวรและเหล่าบริวาร มี ฤทธานุภาพ บันดาลทรัพย์ ให้ เกิดความรุ่งเรือง สถิตย์สถาพร ชั่วฟ้าดินสลาย ก็ไม่คลายมนต์แห่ง องค์ธเนศวร เอย
พระมนต์คาถา บูชา องค์ท้าวเวสสุวรรณ ปาง ธเนศวร
นะโมฯ ๓ จบ
โอม นิธิกุมภี มหาลาโภ มหาทัพพะ เจ้าปู่โสม
ธะ เน ศวร เดโช เวส สะ พุ สะ
อะหังนุกา อะหังนุกัง นะ มะ พะ ทะ จะ ภะ กะ สะ
อุ อา กะ สะ นะ ชา ลี ติ นะ เม ติ อิทธิ ฤทธิ
พุท ธะ นิ มิต ตัง สวาหะ สวาโหม พุท ธะ มะ อะ อุ
อันทรัพย์สมบัติทั้งปวง จงสถิตย์อยู่มิเสื่อมคลาย จงพอกพูนคูณทวีมหาศาล รุ่งเรืองชั่วทิวาแลราตรี
ท้าวเวสสุวรรณ ปางที่ ๔
ปาง โองการท้าวกุเวร ( ยักษ์สั่งรวย )
พระองค์ยืน พระหัตถ์ซ้ายทรงถือค้ำกระบอง มหากาล พระหัตถ์ขวาทรงถือ กระโหลกภูต เรียกมารับโองการ พระบาทขวา ทรงเหยียบขุมทรัพย์ อานิสงส์ อานุภาพ แห่ง ปางนี้ เปรียบดั่งองค์ท้าวกุเวร ได้กล่าวโองการ คือ คำสั่ง แด่เหล่า อินทกะ บริวาร และ ฝูงภูต ปีศาจ ทั้งหลาย ตาม คำขอ คำอธิษฐาน ทุกความปรารถนา ของ ผู้ศรัทธาหยั่งถึงบารมีองค์ท่านท้าวกุเวร
วิธีสักการะบูชา ท้าวเวสสุวรรณ ปางโองการท้าวกุเวร (ยักษ์สั่งรวย)
ฉนั้น ผู้ที่จะขอโชค ขอลาภ ขอบารมี จากผลมหาทานมหาบุญกุศลแห่งท่านองค์ท้าวกุเวรในกาลก่อน กล่าวน้อมรำลึกถึงหนหลังในสมัยบำเพ็ญบารมี ในกาลก่อน ให้ท่านถวาย น้ำอ้อย ๕ แก้ว เพื่อถวาย แด่ องค์ท่านปางนี้แล เป็นการรื้อฟื้นเรียกบารมีอันเก่าแก่ ลึกซึ้ง แห่งองค์ท่านท้าย ถวายแด่ พระพุทธเจ้าทั้ง ๕ พระองค์ นั้นแล
กล่าวพระคาถา พร้อมถวายน้ำอ้อย ๕ แก้ว พร้อมกล่าวพระคาถาพระพุทธเจ้า ๕ พระองค์ คือ นะ โม พุท ธา ยะ
ตั้ง นะโม (๓ จบ)
อิติปิ โส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
มะระณัง สุขัง อะหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต
เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหังพุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ
และ กล่าวหรืออธิษฐานขอพร ขอพระบารมีท่านท้าวกุเวร ปาง โองการท้าวกุเวร (ยักษ์สั่งรวย)
ท้าวเวสสุวรรณ ปางที่ ๕
ปาง เจริญสุข ( ไวศรวัณ )
ไม่มีปัญหาอุปสรรคใดๆในโลกเหล้า จะเอาจะชนะสติปัญญา ที่แจ้งแล้วด้วย ธรรมปัญญา
เป็นปางที่ มี อานิสงส์อานุภาพ ในด้าน สติปัญญาชนะอุปสรรคทั้งปวง ด้วยความผาสุขทั้งทางโลกและทางธรรม ส่งเสริมหนุนนำใน สติปัญญา บารมีอันสูงสุด
รูปลักษณ์พระองค์ในลักษณะเทพบุตร (เมื่อจิตท่านเจริญมหาสติ ลงสู่องค์ญาณ อัตลักษณ์แห่งความดุร้าย แห่งพญายักษ์ราช ท้าวไวศรวัณ ก็สลายกลายเป็นเทพบุตรวิสุทธิเทวา ตั้งวรกายให้ตรงดำรงจิตให้มั่น ลุเข้าสมาธิ ทรงเจริญพระกรรมฐาน นั่งขัดสมาธิเพชร บน รัตนบัลลังก์ มีดอกปทุมชาติ(บัว) ดอกเบ่งบาน หมายถึง ปัญญาอันแจ้งแล้ว สว่างแล้ว ชนะแล้ว ดอกที่ยังไม่เบ่งบาน อันหมายถึง ขุมทรัพย์แห่งเหล่าปัญญาญาณ ความรู้ยิ่งทั้งหลาย(อภิญญา) รอวันแสดงออกประจักษ์แจ้ง ยามเมื่อ พบเจอปัญหาแลอุปสรรคมารุกราน
ลักษณะองค์เทพบุตรท้าวไวศรวัณ (อีกพระนามแห่งท้าวเวสสุวรรณ) เข้าสู่สภาวะ เจริญสุข วิมุตติธรรม อันลึกล้ำ โดยการกำหนดพระกรรมฐานทั้ง ๔๐ องค์สมาบัติทั้ง ๘ วิปัสสนาญาณ ๙ มหาสติปัฏฐาน ๔ อริยสัจ ๔ และ พระธรรมคำสั่งสอนในพระไตรปิฎกทั้ง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์
พระคาถาบูชา ปาง เจริญสุข (ไวศรวัณ)
ตั้ง นะโม (๓ จบ)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุท ธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุท ธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุท ธัสสะ
นะโมวิมุตตานัง นะโมวิมุตติยา
ความนอบน้อมของข้าฯ จงมีแด่ท่านผู้พ้นแล้วทั้งหลาย ความนอบน้อมของข้าฯ จงมีแด่ วิมุตติธรรม คือหลุดพ้นชนะอุปสรรคและปัญหาทั้งปวง
ท้าวเวสสุวรรณ ปางที่ ๖
ปาง เสด็จปราบ ( ยักษราช )
เป็นปางที่ มี อานิสงส์ อานุภาพ ในด้าน มหาปราบ ปราบสิ่งชั่วร้าย ปราบสิ่งอัปมงคล ปราบคุณไสย ปราบอุปสรรค
เป็นการอัญเชิญองค์ท่านท้าวยักษราช พระนามอีกพระนาม ขององค์ ท่านท้าว เวสสุวรรณ ดำเนินเสด็จลงมาปราบสิ่งมิดีมิงามทั้งหลาย ให้เกิดความสงบปกติสุข
ยักษราช แปลว่า ขุนแห่งยักษ์ทั้งปวง จอมยักษ์ ราชาแห่งยักษ์ ลักษณะองค์ท่านท้าว ขณะเสด็จลงมาประทับ ในทุกสถาน ด้วย ปาง มหาปราบ พระบาทซ้ายหยั่งลงพื้นทั่วทั้งชมภู(คือหยั่งถึงทุกปัญหา) พระบาทขวา ตั้งพระชานุ(เข่า) ยกฝ่าพระบาทในการจะเหยียบย่ำทำลายสิ่งชั่วร้ายปัญหาอุปสรรคต่างๆ พระหัตถ์ขวาทรงถือกระบองลักษณะเหาะเหิรเสด็จมาจากทิพย์พิมาน พระหัตถ์ซ้ายทรงถือเชือกแดง(สายสิญจน์แดง) เป็นอาวุธไว้ จับมัดสิ่งชั่วร้าย จับคุณไสยแลวิญญาณ ทั้ง จับมัดอุปสรรคขัดขวางทั้งปวง มิให้ ส่งผลต่อผู้ครอบครองและกราบไหว้สักการะ องค์ท่านท้าวปางนี้แล สมกับเป็น มหาปราบ ชื่อปาง (เสด็จปราบ) ยักษราช
หากท่านทั้งหลายได้ครอบครอง องค์ท่านท้าวปางนี้แล จะเป็น สวัสดิผล มงคลทุกประการ ยิ่งในด้าน ปราบปราบสิ่งชั่วร้าย ปัญหาแลอุปสรรค จะเดินทางไปทำการใดๆ หากตรึกตรองแล้วไซร้ว่า จะมีภัย จะก่อเกิดปัญหาแลอุปสรรค หรือ จะมีข้อ พิพาท ให้จงเอา ด้ายแดง(สายสิญจน์แดง)ตั้งจิตผูกถวายองค์ท่านท้าว แล้วจงขออาราธนา ตั้งจิต ขอพรให้องค์ท่านช่วยสงเคราะห์คลายสลายปัญหาอุปสรรค และ สิ่งชั่วร้าย ที่ได้ตั้งจิตบอกกล่าวองค์ท่านไว้ แล้วกำหนดจิตผูกด้าย สายสิญจน์แดงไป ก่อนถวาย ให้กล่าว มนต์พระคาถา ดังนี้
ตั้ง นะโม ๓ จบ
โอม เวสสะ พุสะ มหา ยักสะ ราชา
ท้าวเวสสุวัณโณ ชะยะตุ ภะวัง สัพพะ
ศัตรู วินาส สันติ
(เมื่อ ปัญหาแลอุปสรรค นั้นคลี่คลายแล้ว ให้ขอองค์ท่านท้าว นำด้ายแดง นี้ ไปตัดทิ้งแลจำเริญในวันพระ ๑๕ ค่ำ พร้อมกรวดน้ำทำบุญถวายผลบุญแด่องค์ท่านท้าวยักษราช(เวสสุวัณ) เช่น ปล่อยปลาปล่อยสัตว์หน้าเขียง ตักบาตรทำบุญฯได้ทุกประการ)
ท้าวเวสสุวรรณ ปางที่ ๗
ปาง เวสสุวัณ ฉาย รตนฆร
ปางนี้ มี อานิสงส์ อานุภาพ เป็นปางที่องค์ท่านท้าว แผ่อำนาจ วาสนา ให้แผ่ซ่าน ไปทั่วสามแดนโลกธาตุ ด้วย เรือนแก้ว คือ รตนฆร คือ แสงพระบารมีแห่งพระพุทธเจ้า ทั้ง ๖ ประการ เรียกว่า ฉัพพรรณรังสี ฉัพพรรณรังสี เป็นเครื่องหมายของปัญญา และอำนาจรวมกัน ซ่านออกจากสิ่งใด หมายความว่า สิ่งนั้นเป็นสิ่งสูงสุดในทางปัญญา คือ ความประเสริฐ แด่ผู้ที่ครอบครองและกราบไหว้สักการะองค์ท่านท้าวปางนี้ แล
เวสสุวัณ ฉาย รตนฆร แปลว่า องค์ท้าวมหาราชเวสสุวัณ ทรงเปล่งพระรัศมีทั้ง ๖ ประการ เป็นดั่งเรือนแก้วปกคลุมพระวรกาย คือ แสงพระบารมีอันลึกล้ำแห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
“ซุ้มเรือนแก้ว”หรือ เรือนแก้ว มาจาก “รตนฆร”
รตน(ระ-ตะ-นะ) แปลว่า แก้ว
ฆร(คะ-ระ) แปลว่า เรือน รวมกันจึงแปลว่า เรือนแก้ว
ลักษณะองค์ท่าน ยืนเท้ากระบอง(มหากาล)
ทรงเรือนแก้ว คือมี พระรัศมี หรือ ประภามณฑล มาจากคำว่า รตนฆร แสงทั้ง ๖ ประการแห่งพระพุทธเจ้า เรียก ทรง ฉัพพรรณรังสี ๖ ประการ
ปางนี้ จึงเป็นปาง แห่งการรวบรวมพระบารมี องค์ท้าวเวสสุวรรณ เป็นการ เปล่ง ฉาย แสดง ถึง พระบารมี อันสูงที่สุด คือ บารมีแห่ง การบรรลุธรรม มีองค์ รตนฆร (เรือนแก้ว) ปกคลุมบารมี ให้องค์ท่านเป็นที่พึ่งที่อาศัยในบารมีทั้งทางโลกแลทางธรรม ไม่เหนือวิสัย องค์ท่านเลย
พระคาถาบูชา องค์ท้าวเวสสุวรรณ (ปาง เวสสุวัณ ฉาย รตนฆร )
นะโม ๓ จบ
เวสสุวัณโณ ฉายา ระตะนะฆะระ ปะ ภา โส
สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ อิติปิ โส ภะคะวา ยมมะราชาโน
ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
ด้วยความเคารพนอบน้อมแด่พระรัตนะตรัย ข้าพเจ้าขอสักการะจอมยักษราช ท้าวเวสสุวรรณโณ ขอความสว่างไสว แห่ง ระ ตะ นะ ฆะ ระ จง ส่องสว่างลงมาสู่ตัว ข้าพเจ้า ด้วยพระอภิธรรมทั้ง ๗ คัมภีร์ จง มาเป็น ด้วย พุท ธะ มะ อะ อุ นี้ เทอญ
ท้าวเวสสุวรรณ ปางที่ ๑
ปาง ร่ายพระเวทย์
องค์ท่าน องค์ยืน ยกกระบอง พนมกร กล่าวร่ายพระเวทย์ เป็น ปางที่ท้าวเวสสุวรรณ ท่านร่ายมนต์ อาฏานาฏิยปริตรเป็นมนต์คาถาอันศักดิ์สิทธิ์ ปางนี้ มีพลานุภาพในด้านเพื่อเพิ่มขวัญกำลังใจให้จิตยกให้สูง ขับไล่ภัยอันตรายสิ่งชั่วร้ายต่างๆ และอวยพรชัย
เป็นสิริมงคล จะได้รับการคุ้มครองจากภยันตรายทั้งปวง ทำให้มีแต่ความสุขความเจริญรุ่งเรือง…. ด้วย พระเวทย์แห่งจอมยักษ์ พระนามว่า เวสสุวัณ ได้ ประชุมพระเวทย์พร้อมเพียงด้วยท้าวมหาราชทั้ง ๔ เป็นมหาวิเศษยิ่งนัก
#ภานยักษ์ แปลว่า ยักษ์พูด (ภาน แปลว่า พูด ) บทสวดมนต์ ปางร่ายพระเวทย์(ร่ายมนต์) อาฏานาฏิยปริตร บทสวดมนต์ป้องกันภูติผีปีสาจ ยักษ์ วิญญาณร้าย คุณไสยต่างๆ และ สิ่งไม่ดี
นะโมฯ ๓ จบนะโม ตัสสะ สัตตะ อะระหังพุทโธ อาฏานาฏิยะ
ปะริตตัง มังรักขันตุ สัพพะทา
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ทั้ง ๗ พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง ขอ พระมนต์แห่งอาฏานาฏิยปริตร จงพิทักษ์รักษา ข้าพเจ้าด้วยเทอญ
ท้าวเวสสุวรรณ ปางที่ ๒
ปาง อุจฉาวสุ ( มั่งมีได้ดั่งใจ )
องค์อุจฉาวสุ (ท้าวเวสสุวรรณ อีกพระนาม ทรงยืน พระหัตถ์ซ้ายถือ กระบอง พระหัตถ์ขวาถือและชู โลหิตมณี (โลหิตมณี คือ มณีสีเลือด หรือ หัวใจแห่งมณีรัตนะ เป็นมณียอดของหัวใจ แห่งความมั่งมี เมื่อองค์ท้าวท่าน อุจฉาวสุ ท่านชูโลหิตมณี เปรียบดั่งเลือดที่คอย หล่อเลี้ยงหัวใจให้เกิดความผาสุข สมปรารถนาทุกประการ
ความเป็นมาแห่งพระนาม ปางนี้ อุจฉาวสุ เป็น พระนามหนึ่งขององค์ท้าวเวสสุวรรณ อานิสงส์แห่งการครอบครองและบูชาสักการะองค์ท่านปางนี้คือปาง อุจฉาวสุ จะบันดาลทรัพย์ ความมั่งคั่ง มั่งมี ได้ดั่งใจท่านปรารถนาเปรียบดั่ง ต้องมนต์มหาพรชัยมงคล แห่ง ท้าวเวสสุวรรณผู้เป็น อุจฉาวสุ
ปางนี้ ให้บูชา ร่ายพระคาถา ว่า
(นะโมฯ ๓ จบ)
โอม อุด ฉา วะ สุ มหา มณี เดโช นะโมพุทธายะ ปิยัง มะมา จิตติ จิตตัง มหา จิตติ
ทรัพย์ใดในโลกาแลเหนือโลกา อันมีค่าสูง จงมาเถิด มาสู่วาสนาสู่บารมีข้าพเจ้าบัดนี้ เทอญ
ท้าวเวสสุวรรณ ปางที่ ๓
ปาง ธเนศวร ครองทรัพย์
พระนามแห่งองค์ท้าวเวสสุวรรณ ถูกเรียกพระนามคือ ธเนศวร แปลว่า (เจ้าแห่งทรัพย์) ทรงนั่งประทับบน พญาปรุสาท นรสิงห์ เหนือบน ขุมทรัพย์ทั้ง ๔ ( นิธิกุมภี ) ขุมทรัพย์แห่งพระเจ้าจักรพรรดิ พระหัตถ์ขวาทรงถือกระบอง พระหัตถ์ซ้ายทรงถือครอง โลหิตมณี คือ มณีสีเลือด หรือ หัวใจแห่งมณีรัตนะ เป็นมณียอดของหัวใจ แห่งความมั่งมี เป็นการแสดงถึงการครอบครอง หัวใจแห่งทรัพย์ทั้งปวง
ขุมทรัพย์ทั้งสี่
ขุมทรัพย์ทั้ง ๔ หรือนิธิกุมภี คือขุมทอง ๔ ขุม ได้แก่ ขุมทองสังขนิธี ขุมทองเอลนิธี ขุมทองอุบลนิธี ขุมทองปุณฑริกนิธี
อานิสงส์ อนุภาพแห่ง ปางนี้ จักบันดาลให้ ทรัพย์สินทั้งหลาย ทั้งมั่งมีอยู่ ไม่มีวัน เหือดแห้ง ถดถอย สลายตัว เปรียบดั่งองค์ ธเนศวร เจ้าแห่งทรัพย์ ได้เป็นผู้เฝ้า รักษาทรัพย์ แห่งท่าน ไม่มีวันเสื่อมคลาย ครั้นมีแต่พอกพูนคูณทวี ด้วยท้าวองค์ธเนศวรและเหล่าบริวาร มี ฤทธานุภาพ บันดาลทรัพย์ ให้ เกิดความรุ่งเรือง สถิตย์สถาพร ชั่วฟ้าดินสลาย ก็ไม่คลายมนต์แห่ง องค์ธเนศวร เอย
พระมนต์คาถา บูชา องค์ท้าวเวสสุวรรณ ปาง ธเนศวร
นะโมฯ ๓ จบ
โอม นิธิกุมภี มหาลาโภ มหาทัพพะ เจ้าปู่โสม
ธะ เน ศวร เดโช เวส สะ พุ สะ
อะหังนุกา อะหังนุกัง นะ มะ พะ ทะ จะ ภะ กะ สะ
อุ อา กะ สะ นะ ชา ลี ติ นะ เม ติ อิทธิ ฤทธิ
พุท ธะ นิ มิต ตัง สวาหะ สวาโหม พุท ธะ มะ อะ อุ
อันทรัพย์สมบัติทั้งปวง จงสถิตย์อยู่มิเสื่อมคลาย จงพอกพูนคูณทวีมหาศาล รุ่งเรืองชั่วทิวาแลราตรี
ท้าวเวสสุวรรณ ปางที่ ๔
ปาง โองการท้าวกุเวร ( ยักษ์สั่งรวย )
พระองค์ยืน พระหัตถ์ซ้ายทรงถือค้ำกระบอง มหากาล พระหัตถ์ขวาทรงถือ กระโหลกภูต เรียกมารับโองการ พระบาทขวา ทรงเหยียบขุมทรัพย์ อานิสงส์ อานุภาพ แห่ง ปางนี้ เปรียบดั่งองค์ท้าวกุเวร ได้กล่าวโองการ คือ คำสั่ง แด่เหล่า อินทกะ บริวาร และ ฝูงภูต ปีศาจ ทั้งหลาย ตาม คำขอ คำอธิษฐาน ทุกความปรารถนา ของ ผู้ศรัทธาหยั่งถึงบารมีองค์ท่านท้าวกุเวร
วิธีสักการะบูชา ท้าวเวสสุวรรณ ปางโองการท้าวกุเวร (ยักษ์สั่งรวย)
ฉนั้น ผู้ที่จะขอโชค ขอลาภ ขอบารมี จากผลมหาทานมหาบุญกุศลแห่งท่านองค์ท้าวกุเวรในกาลก่อน กล่าวน้อมรำลึกถึงหนหลังในสมัยบำเพ็ญบารมี ในกาลก่อน ให้ท่านถวาย น้ำอ้อย ๕ แก้ว เพื่อถวาย แด่ องค์ท่านปางนี้แล เป็นการรื้อฟื้นเรียกบารมีอันเก่าแก่ ลึกซึ้ง แห่งองค์ท่านท้าย ถวายแด่ พระพุทธเจ้าทั้ง ๕ พระองค์ นั้นแล
กล่าวพระคาถา พร้อมถวายน้ำอ้อย ๕ แก้ว พร้อมกล่าวพระคาถาพระพุทธเจ้า ๕ พระองค์ คือ นะ โม พุท ธา ยะ
ตั้ง นะโม (๓ จบ)
อิติปิ โส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
มะระณัง สุขัง อะหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต
เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหังพุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ
และ กล่าวหรืออธิษฐานขอพร ขอพระบารมีท่านท้าวกุเวร ปาง โองการท้าวกุเวร (ยักษ์สั่งรวย)
ท้าวเวสสุวรรณ ปางที่ ๕
ปาง เจริญสุข ( ไวศรวัณ )
ไม่มีปัญหาอุปสรรคใดๆในโลกเหล้า จะเอาจะชนะสติปัญญา ที่แจ้งแล้วด้วย ธรรมปัญญา
เป็นปางที่ มี อานิสงส์อานุภาพ ในด้าน สติปัญญาชนะอุปสรรคทั้งปวง ด้วยความผาสุขทั้งทางโลกและทางธรรม ส่งเสริมหนุนนำใน สติปัญญา บารมีอันสูงสุด
รูปลักษณ์พระองค์ในลักษณะเทพบุตร (เมื่อจิตท่านเจริญมหาสติ ลงสู่องค์ญาณ อัตลักษณ์แห่งความดุร้าย แห่งพญายักษ์ราช ท้าวไวศรวัณ ก็สลายกลายเป็นเทพบุตรวิสุทธิเทวา ตั้งวรกายให้ตรงดำรงจิตให้มั่น ลุเข้าสมาธิ ทรงเจริญพระกรรมฐาน นั่งขัดสมาธิเพชร บน รัตนบัลลังก์ มีดอกปทุมชาติ(บัว) ดอกเบ่งบาน หมายถึง ปัญญาอันแจ้งแล้ว สว่างแล้ว ชนะแล้ว ดอกที่ยังไม่เบ่งบาน อันหมายถึง ขุมทรัพย์แห่งเหล่าปัญญาญาณ ความรู้ยิ่งทั้งหลาย(อภิญญา) รอวันแสดงออกประจักษ์แจ้ง ยามเมื่อ พบเจอปัญหาแลอุปสรรคมารุกราน
ลักษณะองค์เทพบุตรท้าวไวศรวัณ (อีกพระนามแห่งท้าวเวสสุวรรณ) เข้าสู่สภาวะ เจริญสุข วิมุตติธรรม อันลึกล้ำ โดยการกำหนดพระกรรมฐานทั้ง ๔๐ องค์สมาบัติทั้ง ๘ วิปัสสนาญาณ ๙ มหาสติปัฏฐาน ๔ อริยสัจ ๔ และ พระธรรมคำสั่งสอนในพระไตรปิฎกทั้ง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์
พระคาถาบูชา ปาง เจริญสุข (ไวศรวัณ)
ตั้ง นะโม (๓ จบ)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุท ธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุท ธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุท ธัสสะ
นะโมวิมุตตานัง นะโมวิมุตติยา
ความนอบน้อมของข้าฯ จงมีแด่ท่านผู้พ้นแล้วทั้งหลาย ความนอบน้อมของข้าฯ จงมีแด่ วิมุตติธรรม คือหลุดพ้นชนะอุปสรรคและปัญหาทั้งปวง
ท้าวเวสสุวรรณ ปางที่ ๖
ปาง เสด็จปราบ ( ยักษราช )
เป็นปางที่ มี อานิสงส์ อานุภาพ ในด้าน มหาปราบ ปราบสิ่งชั่วร้าย ปราบสิ่งอัปมงคล ปราบคุณไสย ปราบอุปสรรค
เป็นการอัญเชิญองค์ท่านท้าวยักษราช พระนามอีกพระนาม ขององค์ ท่านท้าว เวสสุวรรณ ดำเนินเสด็จลงมาปราบสิ่งมิดีมิงามทั้งหลาย ให้เกิดความสงบปกติสุข
ยักษราช แปลว่า ขุนแห่งยักษ์ทั้งปวง จอมยักษ์ ราชาแห่งยักษ์ ลักษณะองค์ท่านท้าว ขณะเสด็จลงมาประทับ ในทุกสถาน ด้วย ปาง มหาปราบ พระบาทซ้ายหยั่งลงพื้นทั่วทั้งชมภู(คือหยั่งถึงทุกปัญหา) พระบาทขวา ตั้งพระชานุ(เข่า) ยกฝ่าพระบาทในการจะเหยียบย่ำทำลายสิ่งชั่วร้ายปัญหาอุปสรรคต่างๆ พระหัตถ์ขวาทรงถือกระบองลักษณะเหาะเหิรเสด็จมาจากทิพย์พิมาน พระหัตถ์ซ้ายทรงถือเชือกแดง(สายสิญจน์แดง) เป็นอาวุธไว้ จับมัดสิ่งชั่วร้าย จับคุณไสยแลวิญญาณ ทั้ง จับมัดอุปสรรคขัดขวางทั้งปวง มิให้ ส่งผลต่อผู้ครอบครองและกราบไหว้สักการะ องค์ท่านท้าวปางนี้แล สมกับเป็น มหาปราบ ชื่อปาง (เสด็จปราบ) ยักษราช
หากท่านทั้งหลายได้ครอบครอง องค์ท่านท้าวปางนี้แล จะเป็น สวัสดิผล มงคลทุกประการ ยิ่งในด้าน ปราบปราบสิ่งชั่วร้าย ปัญหาแลอุปสรรค จะเดินทางไปทำการใดๆ หากตรึกตรองแล้วไซร้ว่า จะมีภัย จะก่อเกิดปัญหาแลอุปสรรค หรือ จะมีข้อ พิพาท ให้จงเอา ด้ายแดง(สายสิญจน์แดง)ตั้งจิตผูกถวายองค์ท่านท้าว แล้วจงขออาราธนา ตั้งจิต ขอพรให้องค์ท่านช่วยสงเคราะห์คลายสลายปัญหาอุปสรรค และ สิ่งชั่วร้าย ที่ได้ตั้งจิตบอกกล่าวองค์ท่านไว้ แล้วกำหนดจิตผูกด้าย สายสิญจน์แดงไป ก่อนถวาย ให้กล่าว มนต์พระคาถา ดังนี้
ตั้ง นะโม ๓ จบ
โอม เวสสะ พุสะ มหา ยักสะ ราชา
ท้าวเวสสุวัณโณ ชะยะตุ ภะวัง สัพพะ
ศัตรู วินาส สันติ
(เมื่อ ปัญหาแลอุปสรรค นั้นคลี่คลายแล้ว ให้ขอองค์ท่านท้าว นำด้ายแดง นี้ ไปตัดทิ้งแลจำเริญในวันพระ ๑๕ ค่ำ พร้อมกรวดน้ำทำบุญถวายผลบุญแด่องค์ท่านท้าวยักษราช(เวสสุวัณ) เช่น ปล่อยปลาปล่อยสัตว์หน้าเขียง ตักบาตรทำบุญฯได้ทุกประการ)
ท้าวเวสสุวรรณ ปางที่ ๗
ปาง เวสสุวัณ ฉาย รตนฆร
ปางนี้ มี อานิสงส์ อานุภาพ เป็นปางที่องค์ท่านท้าว แผ่อำนาจ วาสนา ให้แผ่ซ่าน ไปทั่วสามแดนโลกธาตุ ด้วย เรือนแก้ว คือ รตนฆร คือ แสงพระบารมีแห่งพระพุทธเจ้า ทั้ง ๖ ประการ เรียกว่า ฉัพพรรณรังสี ฉัพพรรณรังสี เป็นเครื่องหมายของปัญญา และอำนาจรวมกัน ซ่านออกจากสิ่งใด หมายความว่า สิ่งนั้นเป็นสิ่งสูงสุดในทางปัญญา คือ ความประเสริฐ แด่ผู้ที่ครอบครองและกราบไหว้สักการะองค์ท่านท้าวปางนี้ แล
เวสสุวัณ ฉาย รตนฆร แปลว่า องค์ท้าวมหาราชเวสสุวัณ ทรงเปล่งพระรัศมีทั้ง ๖ ประการ เป็นดั่งเรือนแก้วปกคลุมพระวรกาย คือ แสงพระบารมีอันลึกล้ำแห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
“ซุ้มเรือนแก้ว”หรือ เรือนแก้ว มาจาก “รตนฆร”
รตน(ระ-ตะ-นะ) แปลว่า แก้ว
ฆร(คะ-ระ) แปลว่า เรือน รวมกันจึงแปลว่า เรือนแก้ว
ลักษณะองค์ท่าน ยืนเท้ากระบอง(มหากาล)
ทรงเรือนแก้ว คือมี พระรัศมี หรือ ประภามณฑล มาจากคำว่า รตนฆร แสงทั้ง ๖ ประการแห่งพระพุทธเจ้า เรียก ทรง ฉัพพรรณรังสี ๖ ประการ
ปางนี้ จึงเป็นปาง แห่งการรวบรวมพระบารมี องค์ท้าวเวสสุวรรณ เป็นการ เปล่ง ฉาย แสดง ถึง พระบารมี อันสูงที่สุด คือ บารมีแห่ง การบรรลุธรรม มีองค์ รตนฆร (เรือนแก้ว) ปกคลุมบารมี ให้องค์ท่านเป็นที่พึ่งที่อาศัยในบารมีทั้งทางโลกแลทางธรรม ไม่เหนือวิสัย องค์ท่านเลย
พระคาถาบูชา องค์ท้าวเวสสุวรรณ (ปาง เวสสุวัณ ฉาย รตนฆร )
นะโม ๓ จบ
เวสสุวัณโณ ฉายา ระตะนะฆะระ ปะ ภา โส
สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ อิติปิ โส ภะคะวา ยมมะราชาโน
ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
ด้วยความเคารพนอบน้อมแด่พระรัตนะตรัย ข้าพเจ้าขอสักการะจอมยักษราช ท้าวเวสสุวรรณโณ ขอความสว่างไสว แห่ง ระ ตะ นะ ฆะ ระ จง ส่องสว่างลงมาสู่ตัว ข้าพเจ้า ด้วยพระอภิธรรมทั้ง ๗ คัมภีร์ จง มาเป็น ด้วย พุท ธะ มะ อะ อุ นี้ เทอญ
จบ ๗ ปาง
เรียก พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
หากผู้ได้ มีครบ ทั้ง ๗ ปาง ให้ สวดบทย่อ ใน หัวใจพระอภิธรรม ทั้ง ๗ คัมภีร์ คือ
สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ
จะเป็น การปลุก องค์ ญาณ ของ ท่านท้าวเวสสุวรรณ ทั้ง ๗ ปาง มาสู่ตน
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ เป็น คัมภีร์ที่ สูงสุดในพระศาสนา เป็นยอดของคัมภีร์ พระไตรปิฎกถูกถอดรหัสพระพุทธคุณ
มาสู่ องค์ท่าน ท้าว ทั้ง ๗ ปาง หัวใจทั้ง ๗ ปาง คือ
ปางที่ ๑ คือ สัง , ปางที่ ๒ คือ วิ , ปางที่ ๓ คือ ธา , ปางที่ ๔ คือ ปุ
ปางที่ ๕ คือ กะ ปางที่ ๖ คือ ยะ ปางที่ ๗ คือ ปะ
รวมทั้ง ๗ ปาง คือ พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ
ย่อมาจาก
พระอภิธรรมปิฎก อันสุขุมลุ่มลึก ทั้ง ๗ คัมภีร์ ได้แก่
๑.ธัมมสังคณ ๒. วิภังค์ธาตุกถา ๓. ธาตุกถา ๔.ปุคคลบัญญัติ
๕.กถาวัตถุ ๖.ยมก ๗.ปัฏฐาน
ขอความสมบูรณ์พูนผลทุกประการ จง สถิตย์อยู่ด้วยพลังพระพุทธคุณ แด่ องค์ท่านท้าวเวสสุวรรณ ทั้ง ๗ ปาง
อันลึกล้ำพิศดาร คัมภีรภาพ ฝั่งพระพุทธคุณไว้ทุก อณู เป็น มหาวิเศษเลิศล้ำในปฐพี